Language
 - 
Afrikaans
 - 
af
Albanian
 - 
sq
Amharic
 - 
am
Arabic
 - 
ar
Armenian
 - 
hy
Azerbaijani
 - 
az
Basque
 - 
eu
Belarusian
 - 
be
Bengali
 - 
bn
Bosnian
 - 
bs
Bulgarian
 - 
bg
Catalan
 - 
ca
Cebuano
 - 
ceb
Chichewa
 - 
ny
Chinese (Simplified)
 - 
zh-CN
Chinese (Traditional)
 - 
zh-TW
Corsican
 - 
co
Croatian
 - 
hr
Czech
 - 
cs
Danish
 - 
da
Dutch
 - 
nl
English
 - 
en
Esperanto
 - 
eo
Estonian
 - 
et
Filipino
 - 
tl
Finnish
 - 
fi
French
 - 
fr
Frisian
 - 
fy
Galician
 - 
gl
Georgian
 - 
ka
German
 - 
de
Greek
 - 
el
Gujarati
 - 
gu
Haitian Creole
 - 
ht
Hausa
 - 
ha
Hawaiian
 - 
haw
Hebrew
 - 
iw
Hindi
 - 
hi
Hmong
 - 
hmn
Hungarian
 - 
hu
Icelandic
 - 
is
Igbo
 - 
ig
Indonesian
 - 
id
Irish
 - 
ga
Italian
 - 
it
Japanese
 - 
ja
Javanese
 - 
jw
Kannada
 - 
kn
Kazakh
 - 
kk
Khmer
 - 
km
Korean
 - 
ko
Kurdish (Kurmanji)
 - 
ku
Kyrgyz
 - 
ky
Lao
 - 
lo
Latin
 - 
la
Latvian
 - 
lv
Lithuanian
 - 
lt
Luxembourgish
 - 
lb
Macedonian
 - 
mk
Malagasy
 - 
mg
Malay
 - 
ms
Malayalam
 - 
ml
Maltese
 - 
mt
Maori
 - 
mi
Marathi
 - 
mr
Mongolian
 - 
mn
Myanmar (Burmese)
 - 
my
Nepali
 - 
ne
Norwegian
 - 
no
Pashto
 - 
ps
Persian
 - 
fa
Polish
 - 
pl
Portuguese
 - 
pt
Punjabi
 - 
pa
Romanian
 - 
ro
Russian
 - 
ru
Samoan
 - 
sm
Scots Gaelic
 - 
gd
Serbian
 - 
sr
Sesotho
 - 
st
Shona
 - 
sn
Sindhi
 - 
sd
Sinhala
 - 
si
Slovak
 - 
sk
Slovenian
 - 
sl
Somali
 - 
so
Spanish
 - 
es
Sundanese
 - 
su
Swahili
 - 
sw
Swedish
 - 
sv
Tajik
 - 
tg
Tamil
 - 
ta
Telugu
 - 
te
Thai
 - 
th
Turkish
 - 
tr
Ukrainian
 - 
uk
Urdu
 - 
ur
Uzbek
 - 
uz
Vietnamese
 - 
vi
Welsh
 - 
cy
Xhosa
 - 
xh
Yiddish
 - 
yi
Yoruba
 - 
yo
Zulu
 - 
zu

กรรมฐานที่สำคัญเพื่อการบรรลุการเป็นพระอรหันต์

กรรมฐานที่สำคัญเพื่อการบรรลุการเป็นพระอรหันต์

กรรมฐานที่สำคัญเพื่อการบรรลุการเป็นพระอรหันต์

กรรมฐานที่สำคัญในการปฏิบัติเพื่อการบรรลุพระอรหันต์ คือ “อานาปานสติกรรมฐาน” อิริยาบถ + ปฏิกูลบรรพ (กรรมฐาน) + ธาตุ 4 + นวสี

ปฏิกูลบรรพ – พระอรหันต์ทุกองค์จะต้องมี – เน้นพิจารณาความสกปรกของร่างกาย – เน้นการเกิดขึ้นและเสื่อมไปของร่างกาย

หลักธรรมที่สำคัญ ที่เกี่ยวกับการพิจารณาร่างกาย (ขันธ์ 5) เพื่อตัดความยึดมั่นถือมั่น เพื่อการหลุดพ้นจากวัฎสงสาร (การเวียนว่ายตายเกิด) บรรลุการเป็น “พระอรหันต์”

ร่างกาย (ขันธ์ 5) ไม่ใช่เรา (จิต) / ไม่ใช่ของเรา (จิต) เรา (จิต) ไม่ควรยึดมั่นถือมั่นในร่างกาย (ขันธ์ 5) เพราะเรา (จิต) มาอาศัยอยู่ในร่างกาย (ขันธ์ 5) นี้ เพียงชั่วคราว ทั้งนี้เพราะร่างกาย (ขันธ์ 5) เป็นไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) มีการเสื่อมสลายไปในที่สุด


หลักธรรมในการพิจารณาร่างกาย (ขันธ์ 5) และจิต

ร่างกาย (ขันธ์ 5) มีการเกิดขึ้น เปลี่ยนแปลง (อนิจจัง) ไม่ทรงตัว (ทุกขัง) เสื่อมสลาย (อนัตตา) ไปในที่สุด ตามหลักไตรลักษณ์

  • เรา (จิต) เห็นร่างกาย ก็สักแต่ว่าเห็น
  • อย่าไปสนใจในร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นร่างกายของเรา หรือร่างกายของผู้อื่น

ในขณะที่เรา (จิต) อาศัยอยู่ในร่างกาย (ขันธ์ 5) ก็เป็นการอาศัยอยู่ชั่วคราวเท่านั้น (เพราะเมื่อร่างกาย (ขันธ์ 5) นี้สิ้นสภาพ (ตาย)  จิต (เรา) ก็จะย้ายไปภพภูมิใหม่ ตามกรรมที่ได้ทำไว้ เป็นวัฏสงสารของทุกดวงจิต)

  • ดังนั้น จงอย่าไปยึดถือร่างกาย (ขันธ์ 5) นี้ว่าเป็นเรา (จิต) หรือเป็นของเรา (จิต)

ขณะที่ร่างกาย (ขันธ์ 5) ยังคงอยู่ (ยังไม่ตาย) ก็ใช้ร่างกาย (ขันธ์ 5) นี้ เป็นสะพาน / แพ ข้ามฟาก (ไปยังภพที่ดีขึ้น หรือนิพพาน)

  • มั่นสอนจิตให้ระลึกเสมอว่า  ร่างกาย (ขันธ์ 5) ที่เต็มไปด้วยความสกปรกนี้ มีสภาพไม่ทรงตัว (ทุกข์) มีสภาพเกิดขึ้นเบื้องต้น มีความแปรปรวน (อนิจจัง) ในท่ามกลาง มีการสลายตัว (อนัตตา) ไปในที่สุด เราไม่พึงปรารถนา เพราะเป็นปัจจัยของความทุกข์ (ทุกข์)
Generic selectors
Exact matches only
Search in title
Search in content
Post Type Selectors
post