Language
 - 
Afrikaans
 - 
af
Albanian
 - 
sq
Amharic
 - 
am
Arabic
 - 
ar
Armenian
 - 
hy
Azerbaijani
 - 
az
Basque
 - 
eu
Belarusian
 - 
be
Bengali
 - 
bn
Bosnian
 - 
bs
Bulgarian
 - 
bg
Catalan
 - 
ca
Cebuano
 - 
ceb
Chichewa
 - 
ny
Chinese (Simplified)
 - 
zh-CN
Chinese (Traditional)
 - 
zh-TW
Corsican
 - 
co
Croatian
 - 
hr
Czech
 - 
cs
Danish
 - 
da
Dutch
 - 
nl
English
 - 
en
Esperanto
 - 
eo
Estonian
 - 
et
Filipino
 - 
tl
Finnish
 - 
fi
French
 - 
fr
Frisian
 - 
fy
Galician
 - 
gl
Georgian
 - 
ka
German
 - 
de
Greek
 - 
el
Gujarati
 - 
gu
Haitian Creole
 - 
ht
Hausa
 - 
ha
Hawaiian
 - 
haw
Hebrew
 - 
iw
Hindi
 - 
hi
Hmong
 - 
hmn
Hungarian
 - 
hu
Icelandic
 - 
is
Igbo
 - 
ig
Indonesian
 - 
id
Irish
 - 
ga
Italian
 - 
it
Japanese
 - 
ja
Javanese
 - 
jw
Kannada
 - 
kn
Kazakh
 - 
kk
Khmer
 - 
km
Korean
 - 
ko
Kurdish (Kurmanji)
 - 
ku
Kyrgyz
 - 
ky
Lao
 - 
lo
Latin
 - 
la
Latvian
 - 
lv
Lithuanian
 - 
lt
Luxembourgish
 - 
lb
Macedonian
 - 
mk
Malagasy
 - 
mg
Malay
 - 
ms
Malayalam
 - 
ml
Maltese
 - 
mt
Maori
 - 
mi
Marathi
 - 
mr
Mongolian
 - 
mn
Myanmar (Burmese)
 - 
my
Nepali
 - 
ne
Norwegian
 - 
no
Pashto
 - 
ps
Persian
 - 
fa
Polish
 - 
pl
Portuguese
 - 
pt
Punjabi
 - 
pa
Romanian
 - 
ro
Russian
 - 
ru
Samoan
 - 
sm
Scots Gaelic
 - 
gd
Serbian
 - 
sr
Sesotho
 - 
st
Shona
 - 
sn
Sindhi
 - 
sd
Sinhala
 - 
si
Slovak
 - 
sk
Slovenian
 - 
sl
Somali
 - 
so
Spanish
 - 
es
Sundanese
 - 
su
Swahili
 - 
sw
Swedish
 - 
sv
Tajik
 - 
tg
Tamil
 - 
ta
Telugu
 - 
te
Thai
 - 
th
Turkish
 - 
tr
Ukrainian
 - 
uk
Urdu
 - 
ur
Uzbek
 - 
uz
Vietnamese
 - 
vi
Welsh
 - 
cy
Xhosa
 - 
xh
Yiddish
 - 
yi
Yoruba
 - 
yo
Zulu
 - 
zu

ธาตุรู้

ธาตุรู้  = ใจ  ไม่มีวันแตกดับหรือเสื่อมสลาย

ธาตุรู้  = ตัวเรา

ธาตุรู้ส่งกระแสเพื่อจะรับรู้ผ่านอายตนะ (ตา/หู/จมูก/ลิ้น/กาย/สัมผัส)

ร่างกาย = ธาตุ 4 (ดิน + น้ำ + ลม + ไฟ)

ธาตุรู้มีอวิชา 🡪  ทำให้เข้าใจผิดว่าตนเองคือร่างกาย  🡪  เมื่อร่างกายเกิดความแปรปรวน

ผู้รู้แจ้งแห่งธรรมชาติทั้งปวง

ผู้ตื่นจากมายาแห่งคลื่นความคิด

ผู้เบิกบานด้วยธรรมชาติอันบริสุทธิ์แห่ง ธาตุรู้
ธาตุ 6  = ดิน/น้ำ/ลม/ไฟ/อากาศ/ธาตุ     : พุทธพจน์

ใจไม่ดับ

ร่างกาย  =  ดับ (อนิจจัง/ทุกขัง/อนัตตา)

ใจ  = ไม่ดับ

ผู้รู้/เป็นผู้รู้ =  ไม่ดับ

ทุกข์เกิดขึ้นเพราะ กฎปฏิจจสมุปบาท (สมุทยวาร)

เราคือใคร?

เมื่อรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิยญาณ : ไม่ใช่ตัวเรา

เราคือ ใจ หรือผู้รู้

เรา = ผู้รู้ = ธาตุรู้ = จิตใจ = ดวงวิญญาณ = กายทิพย์

สัพเพ ธัมมา อนัตตา

ธรรม    = อสังขาร + สังขาร

อสังขาร = ธาตุ ๔ (ดิน น้ำ ลม ไฟ)  อากาศธาตุ + ธาตุรู้

ธาตุ 4  รวมกันแยกกันตามเหตุปัจจัย แต่ไม่เสื่อมจากความเป็นธาตุ จึงไม่เป็นอนิจจัง 

แต่เป็นอนัตตา

สังขาร  สิ่งที่เกิดจากการรวมตัวของธาตุ 4 และอากาศธาตุ

สังขาร ถ้ามีธาตุรู้ไปครอบครอง = คนและสัตว์

สังขารนี้ไม่เที่ยง (อนิจจัง) ทำให้เกิดทุกข์ในธาตุรู้ (ทุกขัง)

และแตกสลายกลับกลายเป็นธาตุ 4 (อนัตตา)

เมื่อ ธรรม = อสังขาร + สังขาร

      ธรรมทั้งปวงจึงเป็นอนัตตา

ทุกข์ของ “ธาตุรู้”

  • เมื่อมีธาตุรู้ไปครอบครองสังขาร ก็คือคนและสัตว์
  • ธาตุรู้ ที่มีอวิชชาครอบงำ ก็ไม่มี “ความอยาก” ในสังขารที่เป็น นิจจัง สุขัง อัตตา
  • ธาตุรู้ ที่ไม่มีอวิชชา คือมีปัญญา ก็จะไม่อยากให้เป็น นิจจัง สุขัง อัตตา 
  • เพราะรู้ว่าเป็นไปไม่ได้ อยากแล้วก็จะทุกข์

ธาตุรู้ คือใจที่เป็นเจ้านายของกาย  “ใจเป็นนาย กายเป็นบ่าว”

  • ธาตุรู้เป็นทั้งผู้รู้และผู้รับรู้สิ่งต่างๆ ที่เข้ามาทางทวารทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย
  • ส่วนอวิชชาปัจจยา สังขารา ก็คือไม่รู้ว่าร่างกายเป็นเพียงธาตุ กลับไปคิดว่าเป็นตัวเราของเรา

การเวียนว่ายตายเกิด และการดับอุปทานขันธ์

ขันธ์ 5 เป็นภาระให้เกิดทุกข์

การปล่อยวาง

เห็นอะไรก็พิจารณาเป็นธาตุ

  • ธาตุดินเป็นส่วนแข็ง ธาตุน้ำเป็นส่วนเหลว ทุกสิ่งทุกอย่างมีส่วนผสมของธาตุ 4
  • ไม่เที่ยง รวมตัวกันแล้วก็แยกออกจากกัน ธรรมชาติของธาตุจะกลับคืนสู่ธาตุเดิมเสมอ
  • ถ้าธาตุส่วนใดส่วนหนึ่งหมดไปก็จะอยู่ไม่ได้ ถ้าพลังที่จะทำให้แยกออกจากกันมีกำลังมากกว่าก็จะต้องตายไป

(หลักในการพิจารณารูปร่างกาย)

ปัญญา

ปัญญามีหลายชั้น:

  1. ชั้นหยาบ เกี่ยวกับภายนอกคือ รูป รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ
  2. ชั้นกลาง เกี่ยวกับ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
  3. ชั้นละเอียด เกี่ยวกับ จิต

ต้องตัดภายนอกออกก่อนถึงจะเข้าสู่ภายในได้ ตอนเริ่มต้นปฏิบัติควรตั้งสติที่กาย เพราะง่ายกว่าตั้งที่จิต

ธาตุรู้

ธาตุรู้ต้องการคืออะไร ก็คือต้องการ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ที่จะใช้เป็นเครื่องมือในการที่จะได้ไปเสพไปสัมผัสกับ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะต่างๆ นี้เอง เพราะในธาตุนี้มีตัณหาความอยาก ความอยากเสพรูป เสียง กลิ่น รส โผฐัพพะ เลยทำให้ธาตุรู้นี้มาเกาะติดกับร่างกายของมนุษย์หรือของสัตว์

ปัญหาของการเกาะติดกับร่างกายก็คือ ความไม่เที่ยงแท้แน่นอนของร่างกาย (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) เมื่อร่างกายไม่สามารถตอบสนองธาตุรู้ทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ รูป/รส/กลิ่น/เสียง/สัมผัส ก็จะทำให้ร่างกายเกิดความทุกข์ขึ้นมา

  • นี่เป็นที่มาของความทุกข์ใจของพวกเราทุกคน ก็คือธาตุรู้
  • เรามาจากธาตุรู้ ธาตุรู้สมมติตัวเองว่าเป็นเรา เพราะมีความคิด ความคิดนี้แหละเป็นผู้สร้างความสมมติขึ้นมา
  • พวกเรานี้แหละคือธาตุรู้ แต่เราไม่รู้ว่าเราเป็นธาตุรู้

ธาตุรู้นี้ไม่มีรูปร่างหน้าตา ไม่มีตัวตน ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า

ธาตุรู้เป็นนาย ร่างกายเป็นบ่าว

ธาตุรู้สั่งการให้ร่างกายทำงาน

ธาตุรู้ (ใจ) มาเกาะติดร่างกาย

นิพพาน

ความสุขที่เกิดจากการระงับความอยากต่างๆ ไม่ใช่ความสุขของรูปฌาณ ไม่ใช่เป็นความสุขของอรูปฌาณ ไม่ใช่ความสุขของกามคุณทั้ง 5

ไตรลักษณ์

สิ่งต่างๆ ทั้งหลายในโลกนี้เป็นอนิจจัง เป็นอนัตตา คือสิ่งที่เราไม่สามารถสั่งให้มันให้ความสุขกับเราได้ตลอดเวลา

ถ้าไม่มีความอยากทั้ง 3 ชนิดคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหาแล้ว ในใจนี้จะไม่มีอะไรมาสร้างความทุกข์ให้กับใจอีกต่อไป แล้วก็ไม่มีอะไรที่จะดึงใจให้ไปเกาะติดให้กับใจอีกต่อไป เพราะใจไม่ต้องใช้ร่างกาย

นิพพานัง ปรมัง สุญญัง

ผู้ปฏิบัติไม่สูญไปกับการชำระใจของผู้ปฏิบัติ สิ่งที่สูญคือ คราบสกปรกที่ติดอยู่ในใจของผู้ปฏิบัตินั้นเอง

ถ้ามีสติ มีสมาธิ มีปัญญา ก็เหมือนมีอาวุธไว้ต่อสู้กับศัตรูที่จะสร้างความทุกข์ต่างๆ ให้เกิดขึ้น ตอนใกล้ตายจะไม่หวั่นไหวเดือดร้อน จะปล่อยวางร่างกายใจก็จะสงบ

ถ้าไม่เห็นความตายก็จะไม่รีบขวนขวาย

ตายแล้วสูญ ความจริงที่สามารถพิสูจน์ได้ วิธีพิสูจน์คือ การนั่งกรรมฐาน

จิตเป็นผู้รู้ เป็นผู้ที่มีความรู้สึกนึกคิด ผู้สั่งให้ร่างกายทำอะไรต่างๆ ร่างกายไม่รู้เรื่อง ร่างกายทำตามคำสั่งของจิต

ถ้าปฏิบัติไม่เสร็จแล้วร่างกายตายไป ก็ต้องรอให้ร่างกายใหม่ถึงจะปฏิบัติต่อได้

ผู้รู้ เราก็ใช้ชื่อหลายอย่าง ใช้เรียกเป็นจิตใจบ้าง เป็นดวงวิญญาณบ้าง กายทิพย์บ้าง คือธาตุรู้ทั้งนั้น

ธาตุรู้เป็นอมตะ เป็นหนึ่งในธาตุที่เป็นอมตะ “มหาธาตุ” เป็นสิ่งที่ไม่มีวันสูญ สิ่งที่ไม่มีวันดับ

เราใช้วิญญาณไปเชื่อมติดกับร่างกายคือ ตา/หู/จมูก/ลิ้น/กาย เพื่อเราจะได้เสพรูป เสียง กลิ่น รส เราก็เลยต้องมีร่างกายเป็นเครื่องมือ ใจก็ส่งวิญญาณมาเกาะที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย มี 5 วิญญาณ : จักษุวิญญาณ/โสตวิญญาณ/ชิวหาวิญญาณ/กายวิญญาณ/ผัสสะวิญญาณ

เป็นเครื่องมือของผู้รู้ ผู้รู้นี้มีความโลภ โกรธ หลง ถ้าเรามาปฏิบัติก็คือเรามาแก้ที่ตัวธาตุรู้ ไม่ให้หลงกับสิ่งต่างๆ ให้เห็นว่าทุกสิ่งทุกอย่างสุดท้ายก็คือ ดิน/น้ำ/ลม/ไฟ

ต้องใช้สมถภาวนาถึงจะสามารถถอนความอยากได้ ตัวความอยาก ธาตุรู้เกิดจากอวิชชาความหลง

ต้องพิจารณาตามแนวทางไตรลักษณ์ พิจารณาว่าไม่เที่ยง ไม่ใช่ตัวเราของเรา ถ้าจะปล่อยวางร่างกาย ส่วนอาการกายนี้ พิจารณาเพื่อละกามระคะมากกว่า ให้ดูว่ามันไม่สวยงาม สกปรก มันจะได้ละกามราคะได้

จุดอุเบกขากของธาตุรู้

การปฏิบัติเพื่อให้ใจตั้งอยู่บนจุดของความสงบของใจ ตั้งอยู่บนอุเบกขาก็ถือว่าสำเร็จ ไม่ต้องทำอะไรอีกแล้ว เพราะใจจะไม่มีวันเคลื่อนออกจากจุดนี้อีกต่อไปชั่วฟ้าดินสลาย

ธาตุรู้ของพวกเรามันมีปัญหา มันไม่ได้ตั้งอยู่บนจุดอุเบกขา มันถูกความหลงหลอกให้ไปตั้งอยู่บนจุดของ ดิน/น้ำ/ลม/ไฟ

ธาตุรู้เป็นตัวอยาก กามตันหา/ภวตัณหา/วิภวตัณหา อยู่ในธาตุรู้ ใช้สังขารเป็นตัวตอบสนองความอยาก แล้วก็ส่งวิญญาณไปทางตา/หู/จมูก/ลิ้น/กาย เพื่อจะไปหาสิ่งที่ใจอยากได้ ธาตุรู้อยากได้

ต้องพิจารณาตามแนวทางพระไตรลักษณ์ ต้องพิจารณาว่าไม่เที่ยง ไม่ใช่ตัวเราของเรา ถ้าจะปล่อยวางร่างกาย ส่วนอาการ 32 นี้พิจารณาเพื่อละกามราคะมากกว่า ให้ดูว่ามันไม่สวยงาม มันสกปรก มันก็จะละกามราคะได้

พิจารณาอสุภะก็เพื่อพิจารณาดูคนที่เราไปรักไปหลงต่างหาก

ร่างกายมีหลายมิติที่เราต้องเข้าใจ

มิติของอสุภะนี่หมายถึงร่างกายของคนอื่นที่เราไปหลงรักด้วย

มิติของอนิจจัง อันนี้เป็นมิติที่ร่างกายเราต้องเห็นว่ามันจะต้องแก่ เจ็บ ตาย พอตายแล้วก็เป็นซากศพไป เราต้องยอมรับสภาพของมันเวลามันเป็นเพราะเราห้ามมันไม่ได้ มันเป็นอนัตตา

ความเป็นจริง  สิ่งปรุงแต่งของโลกประกอบด้วยธาตุทั้ง 6 คือ ดืน/น้ำ/ลม/ไฟ/ อากาศ/วิญญาณ

  1. สิ่งปรุงแต่งที่ไม่มีวิญญาณเช่นต้นไม้ ประกอบด้วยธาตุดิน/น้ำ/ลม/ไฟ  และอากาศ
  2. สิ่งปรุงแต่งที่มีวิญญาณเช่นคน ประกอบด้วย ดิน/น้ำ/ลม/ไฟ/อากาศ/วิญญาณ รวมตัวเป็นอายาตนะ 6 คือ ตา/หู/จมูก/ลิ้น/กาย/ใจ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ กายและใจ (จิต หรือ วิญญาณ) กาย หรือส่วนที่เป็นขันธ์ 5 เป็นไตรลักษณ์ (อนิจจัง/ทุกขัง/อนัตตา)  ย่อยสลายกลับเป็นธาตุเดิมคือ ดิน/น้ำ/ลม/ไฟ

ใจหรือวิญญาณเป็นอมตะ ย้ายจากร่างเดิมไปหาร่างใหม่ ใจหรือจิต/วิญญาณ มีหน้าที่จะต้องดูแลขันธ์ 5  จิตเป็นเพียงผู้อาศัยขันธ์ 5 ทั้งในอดีต/ปัจจุบัน/อนาคต  ทำให้ใจทุกข์ เพราะมีขันธ์ 5

สัมมาทิฏฐิ   วิชชา  ดับอวิชชา

ขันธ์ 5 อดีต/ปัจจุบัน/อนาคต/อริยสัจสี่/

ทุกข์/สมุทัย/นิโรธ/มรรค

ปฏิจจสมุปบาท

Generic selectors
Exact matches only
Search in title
Search in content
Post Type Selectors
post