ตามหลักของปฏิจจสมุปบาท – สมุทัย แสดงกระบวนการเกิดของความทุกข์ มาจากหลายสาเหตุ เริ่มตั้งแต่อวิชชา (ความไม่รู้ว่า กิเลสทำให้เกิดทุกข์ เพราะทำให้เวียนว่ายตาย-เกิด
1. เพราะเมื่ออวิชชาเป็นปัจจัย | 1.1 ดับทุกข์ที่ต้นทางของสาเหตุ ของความทุกข์ คือ อวิชชา โดยความรู้เกี่ยวกับละกิเลสทุกชนิด |
2. ทำให้เกิดการปรุงแต่ง (สังขาร) ทางจิต – ความคิดดี 🡪เป็นสุข และ – ความคิดไม่ดี 🡪เป็นทุกข์ |
2.1 สร้างมโนภาพในจิตทั้งคิดดีและคิดไม่ดี ดับทุกข์ โดยการคิดทำแต่เรื่องดี เพื่อจิตมีความสุข ซึ่งจะส่งผลให้รูปร่างกายเป็นสุขด้วย |
3. ทำให้เกิดการรับรู้ผ่านอายตนะต่างๆ (วิญญาณ) |
|
4. อันเป็นเหตุให้ขันธ์ 5 (รูปนาม) ทำงาน รูปร่างกายและการปรุงแต่งจิต โดยมี “จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว” ทุกภพทุกชาติ |
4.1 จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว ฝึกจิตให้คิดแต่เรื่องดีๆ เพื่อนำทางให้รูปร่างกาย ทำดีตามจิต 🡪นำความสุขมาให้ / ดับทุกข์ |
5.ส่งผลทำให้อายตนะทั้งภายในและภายนอก (สฬายตนะ) ทำงานตามจิตสั่ง | |
6.รู้เท่าทันสัมผัส เกิดสัมผัส 6 (ผัสสะ) | |
7.ส่งผลให้เกิดความสุข ความทุกข์ เฉยๆ (เวทนา) | |
8.ส่งผลทำให้อยากมี (กามตัณหา) อยากเป็น (ภวตัณหา) อยากไม่มี (วิภวตัณหา) ซึ่งก็คือ กิเลสตัณหา | 8.1 ดับทุกข์ที่ใจ โดยการดับที่เหตุ คือกิเลสตัณหา 8.2 เลสตัณหาชนิดต่างๆ |
9.เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดความยึดมั่นถือมั่น (อุปาทาน) | ความยึดมั่นถือมั่น (อุปาทาน) อยากเป็นเจ้าของ หาทางยึดมาเป็นของตัวเอง ได้ 🡪 สุข ไม่ได้ 🡪 ทุกข์ |
10.ส่งผลทำให้ ภพ | |
11.ส่งผลทำให้มีการเกิดใหม่ (ชาติ) | |
12.ผลที่ตามมาคือ ความแก่และความตาย (ชราและมรณะ) ผิดหวัง 🡪 ทุกข์ สูญเสียของรัก 🡪 ทุกข์ ทุกข์ |
ความทุกข์ สามารถดับลงได้โดยการตัดวงจร ณ จุดใดจุดหนึ่งของวรจร (ห่วงโซ่) ปฏิจจสมุปบาท เช่น ดับตัณหา ซึ่งส่งผลทำให้วงจรอยุดทำงาน ทำให้ไม่มีการเกิด (ชาติ) ซึ่งก็คือ หยุดการเวียนว่ายตายเกิดในวัฏสงสาร อันเป็นการดับความทุกข์อย่างถาวร
1.วิชชา (ความรู้) อวิชชา ดับ เกิดวิชชา (ความรู้) |
เรื่อง (ความรู้เรื่องความจริงตามธรรมชาติ) 1) กฎธรรมชาติ (ความจริง) 2) ไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) 3) สิ่งใดมีเกิด ย่อมมีความดับเป็นธรรมดา |
เกิดปัญญา รู้แจ้งแทงตลอด |
|
2.สังขาร ดับ (ทั้งมีวิญญาณ และไม่มีวิญญาณ) |
|
3.วิญญาณ ดับ | |
4.นามรูป ดับ | |
5.สฬายตนะ ดับ | |
6.ผัสสะ ดับ | |
7.เวทนา ดับ | |
8.ตัณหา ดับ | |
9.อุปาทาน ดับ | |
10.ภพ ดับ | |
11.ขาติ ดับ | |
12. ชรา มรณะ ดับ | |
ดับทุกข์
หมดสิ้นอาสวะ (กิเลส) |
|
ไม่ต้องเวียนว่ายตาย |
เมล็ดข้าว | จิตใจ |
การงอกของเมล็ดข้าว
1.ห่อหุ้มด้วยเปลือก 2.สามารถนำข้าวเปลือกไปปลูก |
การเกิดความทุกข์ใจ
1.ห่อหุ้มด้วยกิเลส 2.กิเลสทำให้เกิด ตัณหาและอุปาทาน |
การดับการงอกของเมล็ดข้าว 1.นำข้าวเปลือกไปสีเหลือเพียงข้าวสาร 2.ข้าวสารนำไปปลูกไม่สามารถ 3.หยุดการงอกใหม่ |
การดับทุกข์ใจ 1.ขจัดกิเลสที่ห่อหุ้มจิตใจออกให้หมด เพื่อให้จิตใจสะอาดบริสุทธิ์ 2.ไม่เหลือกิเลสตัณหาและอุปาทาน 3.ไม่มีการเกิดอีกต่อไป 4.เป็นการดับทุกข์ถาวร |
41 ซอยพัฒนาการ 64 ถนนพัฒนาการ แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250