Language
 - 
Afrikaans
 - 
af
Albanian
 - 
sq
Amharic
 - 
am
Arabic
 - 
ar
Armenian
 - 
hy
Azerbaijani
 - 
az
Basque
 - 
eu
Belarusian
 - 
be
Bengali
 - 
bn
Bosnian
 - 
bs
Bulgarian
 - 
bg
Catalan
 - 
ca
Cebuano
 - 
ceb
Chichewa
 - 
ny
Chinese (Simplified)
 - 
zh-CN
Chinese (Traditional)
 - 
zh-TW
Corsican
 - 
co
Croatian
 - 
hr
Czech
 - 
cs
Danish
 - 
da
Dutch
 - 
nl
English
 - 
en
Esperanto
 - 
eo
Estonian
 - 
et
Filipino
 - 
tl
Finnish
 - 
fi
French
 - 
fr
Frisian
 - 
fy
Galician
 - 
gl
Georgian
 - 
ka
German
 - 
de
Greek
 - 
el
Gujarati
 - 
gu
Haitian Creole
 - 
ht
Hausa
 - 
ha
Hawaiian
 - 
haw
Hebrew
 - 
iw
Hindi
 - 
hi
Hmong
 - 
hmn
Hungarian
 - 
hu
Icelandic
 - 
is
Igbo
 - 
ig
Indonesian
 - 
id
Irish
 - 
ga
Italian
 - 
it
Japanese
 - 
ja
Javanese
 - 
jw
Kannada
 - 
kn
Kazakh
 - 
kk
Khmer
 - 
km
Korean
 - 
ko
Kurdish (Kurmanji)
 - 
ku
Kyrgyz
 - 
ky
Lao
 - 
lo
Latin
 - 
la
Latvian
 - 
lv
Lithuanian
 - 
lt
Luxembourgish
 - 
lb
Macedonian
 - 
mk
Malagasy
 - 
mg
Malay
 - 
ms
Malayalam
 - 
ml
Maltese
 - 
mt
Maori
 - 
mi
Marathi
 - 
mr
Mongolian
 - 
mn
Myanmar (Burmese)
 - 
my
Nepali
 - 
ne
Norwegian
 - 
no
Pashto
 - 
ps
Persian
 - 
fa
Polish
 - 
pl
Portuguese
 - 
pt
Punjabi
 - 
pa
Romanian
 - 
ro
Russian
 - 
ru
Samoan
 - 
sm
Scots Gaelic
 - 
gd
Serbian
 - 
sr
Sesotho
 - 
st
Shona
 - 
sn
Sindhi
 - 
sd
Sinhala
 - 
si
Slovak
 - 
sk
Slovenian
 - 
sl
Somali
 - 
so
Spanish
 - 
es
Sundanese
 - 
su
Swahili
 - 
sw
Swedish
 - 
sv
Tajik
 - 
tg
Tamil
 - 
ta
Telugu
 - 
te
Thai
 - 
th
Turkish
 - 
tr
Ukrainian
 - 
uk
Urdu
 - 
ur
Uzbek
 - 
uz
Vietnamese
 - 
vi
Welsh
 - 
cy
Xhosa
 - 
xh
Yiddish
 - 
yi
Yoruba
 - 
yo
Zulu
 - 
zu

อริยสัจข้อที่  4:  มรรค  (มัชฌิมาปฏิปทา) และไตรสิกขา

อริยสัจข้อที่  4:  มรรค  (มัชฌิมาปฏิปทา) และไตรสิกขา

คนส่วนใหญ่ชอบเดินทางเก่า อันได้แก่ กามสุขัลลิกานุโยค และอัตตกิลมถานุโยค

  • กามสุขัลลิกานุโยค คือ การทำตนให้เป็นผู้หมกมุ่นติดอยู่ในกามสุข
  • อัตตกิลมถานุโยค คือ การปฏิบัติผิด แม้ประพฤติเคร่งครัดทำตนให้ลำบากสักเพียงไร ก็ไม่สำเร็จประโยชน์ ซึ่งมรรค ผล นิพพาน (1)

 

ความสุขมี  2 ชนิด คือ(1)

  1. อามิสสุข  คือ สุขมีประมาณน้อย ได้แก่ สุขซึ่งเกิดแต่ความยินดีในกาม
  2. นิรามิสสุข  คือ สุขอันไพบูลย์ ได้แก่ ฌาน วิปัสสนา มรรค ผล นิพพาน

ธรรมปฏิบัติที่จะให้ถึงสุขอันไพบูลย์ ต้องปฏิบัติตามอริยมรรคมีองค์ 8  (มัชฌิมาปฏิปทา = ทางสายกลาง)

 

อริยมรรคมีองค์ 8 ไตรสิกขา
  1. สัมมาทิฎฐิ (ความเห็นชอบ)
  2. สัมมาสังกัปปะ (ความดำริชอบ)
(3) ปัญญา  (ทำใจให้บริสุทธิ์)
  1. สัมมาวาจา (วาจาชอบ)
  2. สัมมากัมมันตะ (การงานชอบ)
  3. สัมมาอาชีวะ  (อาชีพชอบ)
(1) ศีล  (การละชั่ว)
  1. สัมมาวายามะ  (ความเพียรชอบ)
  2. สัมมาสติ  (ความระลึกชอบ)
  3. สัมมาสมาธิ  (จิตตั้งมั่นชอบ)
(2) สมาธิ  (ทำความดี)

 

ตารางข้างต้น เป็นการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอริยมรรคและไตรสิกขา  ข้อสังเกตก็คือ อริยมรรคมีองค์ 8  เริ่มต้นจาก สัมมาทิฎฐิ (ความเห็นชอบ)  เป็นความเห็นชอบเกี่ยวกับเรื่อง ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค  หรือพูดให้เข้าใจง่ายก็คือ ต้องมีความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับ “อริยสัจ 4  และมีความเชื่อมั่นในคำสอนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่าเป็นคำสอนที่ประเสริฐแท้เกี่ยวกับ ทางปฏิบัติเพื่อการดับทุกข์และสร้างสุขอย่างแท้จริง ดังคำกล่าว “นิพพานัง ปรฺมัง สุขัง”  (นิพพาน เป็นสุขยิ่งนัก หรือนิพพานเป็นความสุขสูงสุด เพราะหมดสิ้นซึ่งกิเลสทั้งปวง ไม่มีการเกิดอีกแล้ว ไม่ว่าจะเกิดเป็นภพภูมิใดก็ตาม)

สัมมาทิฎฐิ ตรงกับหมวด “ปัญญา” ของไตรสิกขา

ซึ่งการปฏิบัติธรรมตามไตรสิกขา ต้องปูพื้นด้านการรักษาศีลก่อน 

  1. “ศีล”  รักษาศีลก่อน เพราะต้องทำให้กาย และวาจาบริสุทธิ์ก่อน (สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และสัมมาอาชีวะ) เมื่อกายและวาจาบริสุทธิ์  (ละการทำชั่วทางกายและวาจา) ก็ดำเนินเรื่องต่อด้าน “สมาธิ” (การทำความดี)

“สมาธิ”  การเจริญสมาธิ จะต้องมีบาทฐานของการรักษาศีลที่ดีและมั่นคง เพื่อที่มุ่งหน้าละชั่ว ทำดี โดยการเดินตามอริยมรรคด้าน สัมมาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ  โดยเฉพาะสัมมาวายามะ เป็นความเพียรด้านการละชั่ว และ

(1) พระอาจารย์มั่น  ภูริทัตตเถร  :  ปฎิปัตติปุจฉาวิสัชนา

  1. ทำความดี เพื่อให้ใจพร้อมที่จะปฏิบัติธรรมขั้นต่อไปคือ สัมมาสติ (ความระลึกชอบ) และสัมมาสมาธิ (จิตตั้งมั่นชอบ)
  2. “ปัญญา”  เมื่อผ่านขั้นตอนการการเจริญสมาธิแล้ว ก็ดำเนินเรื่อง “ปัญญา”  ซึ่งเป็นเรื่องการทำใจให้บริสุทธิ์ โดยมีอริยมรรคที่สำคัญเพื่อการปฏิบัติธรรมขั้นสูงสุด มีสัมมาทิฎฐิ (ความเห็นชอบ)  และสัมมาสังกัปปะ (ความดำริชอบ)  เพราะสัมมาทิฎฐิ (ความเห็นชอบ) เป็นการแก้ไข “อวิชชา”  (ความไม่รู้ตามความเป็นจริง)  เพื่อให้เกิด “วิชชา”  เมื่อเกิด “วิชชา” (รู้ตามความเป็นจริง)  “อวิชชา” ก็หายไป (ดับ)  ห่วงโซ่ของปฏิจจสมุปบาท : ทุกขนิโรธก็ขาดลงทั้งหมด ซึ่งก็หมายถึง ความทุกข์ก็ดับลงทั้งหมด เป็นการบรรลุพระนิพพาน ซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา
  • สัมมาสังกัปปะ (ดำริชอบ)  เป็นหลักธรรมที่ออกจากกาม (ละกามราคะ)  ซึ่งเป็นสังโยชน์ที่สำคัญของการบรรลุขั้นพระอนาคามี  ความดำริในการไม่เบียดเบียนและความดำริในการไม่พยาบาท ก็หลักธรรมที่สำคัญในการปฏิบัติเพื่อการบรรลุการเป็นพระอริยบุคคล

หมายเหตุ :

ระดับโลกีย์ : ทำศีล สมาธิ ปัญญา  ปัญญาที่เกิดขึ้นยังไม่เห็นอริยสัจ 4  สังโยชน์ 3  ยังละไม่ได้ (1)

ระดับโลกุตตร :  ทำศีล สมาธิ ปัญญา  โดยปัญญาเห็นอริยสัจ 4 แล้ว  และละสังโชน์ 3  ได้แล้ว(1)

(1) พระอาจารย์มั่น  ภูริทัตตเถร  :  ปฎิปัตติปุจฉาวิสัชนา

พระอริยบุคคลและการละสังโยชน์1

ที่มาของข้อมูล : 1 : “พุทธธรรม” โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต)

2 : “ทางสายเข้าสู่พระนิพพาน”  โดย พระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ)

3 : “ปฏิปัตติปุจฉาวิสัชนา : โดย หลวงปู่มั่น  ภูริทัตตเถระ (หน้า 34, 39, 40, 41)

 

อสุภกรรมฐาน 10

 

 

 

Generic selectors
Exact matches only
Search in title
Search in content
Post Type Selectors
post