Language
 - 
Afrikaans
 - 
af
Albanian
 - 
sq
Amharic
 - 
am
Arabic
 - 
ar
Armenian
 - 
hy
Azerbaijani
 - 
az
Basque
 - 
eu
Belarusian
 - 
be
Bengali
 - 
bn
Bosnian
 - 
bs
Bulgarian
 - 
bg
Catalan
 - 
ca
Cebuano
 - 
ceb
Chichewa
 - 
ny
Chinese (Simplified)
 - 
zh-CN
Chinese (Traditional)
 - 
zh-TW
Corsican
 - 
co
Croatian
 - 
hr
Czech
 - 
cs
Danish
 - 
da
Dutch
 - 
nl
English
 - 
en
Esperanto
 - 
eo
Estonian
 - 
et
Filipino
 - 
tl
Finnish
 - 
fi
French
 - 
fr
Frisian
 - 
fy
Galician
 - 
gl
Georgian
 - 
ka
German
 - 
de
Greek
 - 
el
Gujarati
 - 
gu
Haitian Creole
 - 
ht
Hausa
 - 
ha
Hawaiian
 - 
haw
Hebrew
 - 
iw
Hindi
 - 
hi
Hmong
 - 
hmn
Hungarian
 - 
hu
Icelandic
 - 
is
Igbo
 - 
ig
Indonesian
 - 
id
Irish
 - 
ga
Italian
 - 
it
Japanese
 - 
ja
Javanese
 - 
jw
Kannada
 - 
kn
Kazakh
 - 
kk
Khmer
 - 
km
Korean
 - 
ko
Kurdish (Kurmanji)
 - 
ku
Kyrgyz
 - 
ky
Lao
 - 
lo
Latin
 - 
la
Latvian
 - 
lv
Lithuanian
 - 
lt
Luxembourgish
 - 
lb
Macedonian
 - 
mk
Malagasy
 - 
mg
Malay
 - 
ms
Malayalam
 - 
ml
Maltese
 - 
mt
Maori
 - 
mi
Marathi
 - 
mr
Mongolian
 - 
mn
Myanmar (Burmese)
 - 
my
Nepali
 - 
ne
Norwegian
 - 
no
Pashto
 - 
ps
Persian
 - 
fa
Polish
 - 
pl
Portuguese
 - 
pt
Punjabi
 - 
pa
Romanian
 - 
ro
Russian
 - 
ru
Samoan
 - 
sm
Scots Gaelic
 - 
gd
Serbian
 - 
sr
Sesotho
 - 
st
Shona
 - 
sn
Sindhi
 - 
sd
Sinhala
 - 
si
Slovak
 - 
sk
Slovenian
 - 
sl
Somali
 - 
so
Spanish
 - 
es
Sundanese
 - 
su
Swahili
 - 
sw
Swedish
 - 
sv
Tajik
 - 
tg
Tamil
 - 
ta
Telugu
 - 
te
Thai
 - 
th
Turkish
 - 
tr
Ukrainian
 - 
uk
Urdu
 - 
ur
Uzbek
 - 
uz
Vietnamese
 - 
vi
Welsh
 - 
cy
Xhosa
 - 
xh
Yiddish
 - 
yi
Yoruba
 - 
yo
Zulu
 - 
zu

สรุป : ลำดับขั้นในการปฏิบัติธรรม พิจารณาขันธ์ ๕ เป็นไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา)

โลกียภูมิและโลกุตรภูมิ
โลกุตรภูมิ: ธรรมปฏิบัติเพื่อความหลุดพ้น

สรุป : ลำดับขั้นในการปฏิบัติธรรม พิจารณาขันธ์ ๕ เป็นไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา)

สรุป : ลำดับขั้นในการปฏิบัติธรรม พิจารณาขันธ์ ๕ เป็นไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา)

สรุป : ลำดับขั้นในการปฏิบัติธรรม พิจารณาขันธ์ ๕ เป็นไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา)
1.  สมถะภาวนา : เลือกกรรมฐาน (จาก 40 ชนิด) ให้เหมาะกับจริต อานาปานสติเป็นกรรมฐานที่สำคัญที่สุดที่จะต้องมีเป็นกรรมฐานหลัก ใช้ร่วมกับกรรมฐานอื่นๆ2. วิปัสสนาภาวนา : พิจารณาขันธ์ 5 (ร่างกาย) / อายตนะ เป็นไตรลักษณ์ ต้องภาวนาสลับระหว่างสมถะภาวนา (สมาธิภาวนา) (เพื่อให้ใจสงบ เพื่อให้เกิดปัญญา) และวิปัสสนาภาวนา เป็นการใช้ปัญญาพิจารณาความเป็นจริงว่า  ขันธ์ 5  (รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน รวมเรียกว่า รูปร่างกาย) / อายตนะ เป็นไตรลักษณ์ (ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา)3.  หลักธรรมสำคัญในการพิจารณา เพื่อการบรรลุการเป็นพระอรหันต์
กาย (รูปร่างกาย = ขันธ์ 5) เป็นไตรลักษณ์ (ไม่เที่ยง) จิต : เป็นอมตะ (เที่ยง)แยกกายและจิตออกจากตัดความยึดมั่นถือมั่น (อุปาทาน) ในรูปร่างกาย (ขันธ์ 5)-รูปร่างกาย (ขันธ์ 5) ไม่ใช่เรา (จิต)-รูปร่างกาย (ขันธ์ 5) ไม่ใช่ของเรา (จิต)-รูปร่างกาย (ขันธ์ 5) ไม่มีในเรา (จิต)-เรา (จิต) ไม่มีในรูปร่างกาย (ขันธ์ 5)-เรา (จิต) มาอาศัยรูปร่างกาย (ขันธ์ 5) อยู่ชั่วคราว-เมื่อรูปร่างกาย (ขันธ์ 5) สิ้นสภาพ (ตาย) เพราะเป็นไตรลักษณ์ เรา (จิต) ก็ออกจากร่างกาย (ขันธ์ 5) เดิม ไปภพภูมิใด (ใหม่) ขึ้นอยู่กับกรรมที่สร้างสะสมไว้ เป็นการเวียนว่ายตายเกิด (วัฏสงสาร)-ดังนั้น จึงไม่ควรไปยึดมั่นถือมั่น (อุปาทาน) ในรูปร่างกาย (ขันธ์ 5) ปัจจุบัน
4. สรุป : จุดหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา คือการหมดทุกข์ถาวร โดยการไม่เกิดอีกต่อไป การเข้าถึง “พระนิพพาน” (ไม่เกิดอีกต่อไป) ก็คือการบรรลุการเป็นพระอรหันต์

Generic selectors
Exact matches only
Search in title
Search in content
Post Type Selectors
post