คนส่วนใหญ่ชอบเดินทางเก่า อันได้แก่ กามสุขัลลิกานุโยค และอัตตกิลมถานุโยค
ความสุขมี 2 ชนิด คือ(1)
ธรรมปฏิบัติที่จะให้ถึงสุขอันไพบูลย์ ต้องปฏิบัติตามอริยมรรคมีองค์ 8 (มัชฌิมาปฏิปทา = ทางสายกลาง)
อริยมรรคมีองค์ 8 | ไตรสิกขา |
|
(3) ปัญญา (ทำใจให้บริสุทธิ์) |
|
(1) ศีล (การละชั่ว) |
|
(2) สมาธิ (ทำความดี) |
ตารางข้างต้น เป็นการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอริยมรรคและไตรสิกขา ข้อสังเกตก็คือ อริยมรรคมีองค์ 8 เริ่มต้นจาก สัมมาทิฎฐิ (ความเห็นชอบ) เป็นความเห็นชอบเกี่ยวกับเรื่อง ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค หรือพูดให้เข้าใจง่ายก็คือ ต้องมีความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับ “อริยสัจ 4” และมีความเชื่อมั่นในคำสอนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่าเป็นคำสอนที่ประเสริฐแท้เกี่ยวกับ ทางปฏิบัติเพื่อการดับทุกข์และสร้างสุขอย่างแท้จริง ดังคำกล่าว “นิพพานัง ปรฺมัง สุขัง” (นิพพาน เป็นสุขยิ่งนัก หรือนิพพานเป็นความสุขสูงสุด เพราะหมดสิ้นซึ่งกิเลสทั้งปวง ไม่มีการเกิดอีกแล้ว ไม่ว่าจะเกิดเป็นภพภูมิใดก็ตาม)
สัมมาทิฎฐิ ตรงกับหมวด “ปัญญา” ของไตรสิกขา
ซึ่งการปฏิบัติธรรมตามไตรสิกขา ต้องปูพื้นด้านการรักษาศีลก่อน
“สมาธิ” การเจริญสมาธิ จะต้องมีบาทฐานของการรักษาศีลที่ดีและมั่นคง เพื่อที่มุ่งหน้าละชั่ว ทำดี โดยการเดินตามอริยมรรคด้าน สัมมาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ โดยเฉพาะสัมมาวายามะ เป็นความเพียรด้านการละชั่ว และ
(1) พระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถร : ปฎิปัตติปุจฉาวิสัชนา
หมายเหตุ :
ระดับโลกีย์ : ทำศีล สมาธิ ปัญญา ปัญญาที่เกิดขึ้นยังไม่เห็นอริยสัจ 4 สังโยชน์ 3 ยังละไม่ได้ (1)
ระดับโลกุตตร : ทำศีล สมาธิ ปัญญา โดยปัญญาเห็นอริยสัจ 4 แล้ว และละสังโชน์ 3 ได้แล้ว(1)
(1) พระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถร : ปฎิปัตติปุจฉาวิสัชนา
ที่มาของข้อมูล : 1 : “พุทธธรรม” โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
2 : “ทางสายเข้าสู่พระนิพพาน” โดย พระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ)
3 : “ปฏิปัตติปุจฉาวิสัชนา : โดย หลวงปู่มั่น ภูริทัตตเถระ (หน้า 34, 39, 40, 41)
41 ซอยพัฒนาการ 64 ถนนพัฒนาการ แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250