ไตรสิกขา | พระอริยบุคคล | ละสังโยชน์ |
(1)อธิศีลสิกขา (ศีล) | พระโสดาบัน (ศีล) พระสกิทาคามี (ศีล) | ①②③ ①②③ และละกิเลส (โลภะ โทสะ โมหะ) บางส่วน |
(2) อธิจิตตสิกขา (สมาธิ) | พระอนาคามี (ศีลและสมาธิ) | ①②③④⑤ + ละกิเลส (โลภะ โทสะ โมหะ) |
(3) อธิปัญญาสิกขา (ปัญญา) (วิปัสสนา)) | พระอรหันต์ (ศีล สมาธิ ปัญญา) | ①②③④⑤⑥⑦⑧⑨⑩ + ละกิเลสหมดสิ้น |
ละสังโยชน์ที่ | ธรรมปฏิบัติ 2 | พระอริยบุคคล |
1)สักกายทิฏฐิ : ระลึกอยู่ตลอดเวลาว่าจะต้องตาย ขันธ์ 5 (ร่างกาย) ไม่ใช่จิต (เรา) ไม่ใช่ของจิต (เรา) เป็นคู่ปรับกับ ยงฺกิญจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพนฺตํ นิโรธธมฺมํ 3 ละสักกายทิฎฐิด้วยอสุภกรรมฐาน 2)วิจิกิจฉา : ไม่สงสัยในคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า เคารพในพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ 3)สีลัพพตปรามาส : รักษาศีลโดยเคร่งครัด (ฆราวาส ศีล 5 / เณร ศีล 10 / พระ ศีล 227) 4)กามฉันทะ : ละความพอใจในกาม ละความกำหนัดในเมถุน ด้วยกายคตานุสสติกรรมฐาน 5)ปฏิฆะ : ละความไม่พอใจ กระทบกระทั่ง 6)รูปราคะ : เรา (จิต) ไม่หลงไหลในรูปฌาน หรือรูปขันธ์ (รูป เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ) 3 7)อรูปราคะ : เรา (จิต) ไม่หลงไหลในอรูปฌาน หรือนามขันธ์ (เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน) 3 8)มานะ : เรา (จิต) ตัดความถือตัวถือตน ด้วยการเปรียบเทียบ เป็นคู่ปรับกับอนัตตา3 9)อุทธัจจะ : เรา (จิต) จะไม่ทำให้อารมณ์ฟุ้งซ่านไปในธรรม มีเฉพาะอารมณ์พระนิพพาน ระงับความฟุ้งซ่านด้วย “อานาปานสติกรรมฐาน” 10)อวิชชา : เรา (จิต) จะทำลายความโง่ ด้วยการเข้าถึงอริยสัจ 4 อวิชชา สังโยชน์ ไม่รู้ขันธ์ | : ระลึกอยู่ตลอดเวลาว่าจะต้องตาย ขันธ์ 5 (ร่างกาย) ไม่ใช่จิต (เรา) ไม่ใช่ของจิต (เรา) เป็นคู่ปรับกับ ยงฺกิญจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพนฺตํ นิโรธธมฺมํ 3 ละสักกายทิฎฐิด้วยอสุภกรรมฐาน : ไม่สงสัยในคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า เคารพในพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ : รักษาศีลโดยเคร่งครัด (ฆราวาส ศีล 5 / เณร ศีล 10 / พระ ศีล 227) : ละความพอใจในกาม ละความกำหนัดในเมถุน ด้วยกายคตานุสสติกรรมฐาน : ละความไม่พอใจ กระทบกระทั่ง : เรา (จิต) ไม่หลงไหลในรูปฌาน หรือรูปขันธ์ (รูป เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ) 3 : เรา (จิต) ไม่หลงไหลในอรูปฌาน หรือนามขันธ์ (เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน) 3 : เรา (จิต) ตัดความถือตัวถือตน ด้วยการเปรียบเทียบ เป็นคู่ปรับกับอนัตตา3 : เรา (จิต) จะไม่ทำให้อารมณ์ฟุ้งซ่านไปในธรรม มีเฉพาะอารมณ์พระนิพพานระงับความฟุ้งซ่านด้วย “อานาปานสติกรรมฐาน” : เรา (จิต) จะทำลายความโง่ ด้วยการเข้าถึงอริยสัจ 4 อวิชชา สังโยชน์ ไม่รู้ขันธ์ | – พระโสดาบัน พระสกิทาคามี – พระอนาคามี – พระอรหันต์ |