Language
 - 
Afrikaans
 - 
af
Albanian
 - 
sq
Amharic
 - 
am
Arabic
 - 
ar
Armenian
 - 
hy
Azerbaijani
 - 
az
Basque
 - 
eu
Belarusian
 - 
be
Bengali
 - 
bn
Bosnian
 - 
bs
Bulgarian
 - 
bg
Catalan
 - 
ca
Cebuano
 - 
ceb
Chichewa
 - 
ny
Chinese (Simplified)
 - 
zh-CN
Chinese (Traditional)
 - 
zh-TW
Corsican
 - 
co
Croatian
 - 
hr
Czech
 - 
cs
Danish
 - 
da
Dutch
 - 
nl
English
 - 
en
Esperanto
 - 
eo
Estonian
 - 
et
Filipino
 - 
tl
Finnish
 - 
fi
French
 - 
fr
Frisian
 - 
fy
Galician
 - 
gl
Georgian
 - 
ka
German
 - 
de
Greek
 - 
el
Gujarati
 - 
gu
Haitian Creole
 - 
ht
Hausa
 - 
ha
Hawaiian
 - 
haw
Hebrew
 - 
iw
Hindi
 - 
hi
Hmong
 - 
hmn
Hungarian
 - 
hu
Icelandic
 - 
is
Igbo
 - 
ig
Indonesian
 - 
id
Irish
 - 
ga
Italian
 - 
it
Japanese
 - 
ja
Javanese
 - 
jw
Kannada
 - 
kn
Kazakh
 - 
kk
Khmer
 - 
km
Korean
 - 
ko
Kurdish (Kurmanji)
 - 
ku
Kyrgyz
 - 
ky
Lao
 - 
lo
Latin
 - 
la
Latvian
 - 
lv
Lithuanian
 - 
lt
Luxembourgish
 - 
lb
Macedonian
 - 
mk
Malagasy
 - 
mg
Malay
 - 
ms
Malayalam
 - 
ml
Maltese
 - 
mt
Maori
 - 
mi
Marathi
 - 
mr
Mongolian
 - 
mn
Myanmar (Burmese)
 - 
my
Nepali
 - 
ne
Norwegian
 - 
no
Pashto
 - 
ps
Persian
 - 
fa
Polish
 - 
pl
Portuguese
 - 
pt
Punjabi
 - 
pa
Romanian
 - 
ro
Russian
 - 
ru
Samoan
 - 
sm
Scots Gaelic
 - 
gd
Serbian
 - 
sr
Sesotho
 - 
st
Shona
 - 
sn
Sindhi
 - 
sd
Sinhala
 - 
si
Slovak
 - 
sk
Slovenian
 - 
sl
Somali
 - 
so
Spanish
 - 
es
Sundanese
 - 
su
Swahili
 - 
sw
Swedish
 - 
sv
Tajik
 - 
tg
Tamil
 - 
ta
Telugu
 - 
te
Thai
 - 
th
Turkish
 - 
tr
Ukrainian
 - 
uk
Urdu
 - 
ur
Uzbek
 - 
uz
Vietnamese
 - 
vi
Welsh
 - 
cy
Xhosa
 - 
xh
Yiddish
 - 
yi
Yoruba
 - 
yo
Zulu
 - 
zu

๕.หลวงปู่อ่อน  ญาณสิริ

๕.หลวงปู่อ่อน  ญาณสิริ

 

วัดป่านิโครธาราม  บ้านหนองบัวบาน  อำเภอหนองวัวซอ  จังหวัดอุดรธานี

“พระอริยเจ้าผู้มีดวงตาเห็นธรรม”

 

พระเดชพระคุณหลวงปู่อ่อน  ญาณสิริ เป็นหนึ่งในกองทัพธรรมกรรมฐานใต้ร่มธรรมของหลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล และท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ท่านเป็นศิษย์ที่ท่านพระอาจารย์มั่นมอบคำบริกรรมภาวนาให้โดยเฉพาะ เนื่องด้วยท่านเป็นผู้มีราคะจริต ในเบื้องต้นท่านให้คำบริกรรมว่า  “กายเภทํ กายมรณํ มหาทุกฺขํ”  ต่อมาท่านให้เปลี่ยนบริกรรมว่า  “เยกุชฺโฌ ปฏิกุโล”

 

จิตเป็นสิ่งสำคัญ สัมมาทิฐิ คือความเห็นชอบคือตัวปัญญามันเกิดขึ้น พอปัญญาเกิดขึ้นเท่านั้นแหละ สัมมาทิฐิตัวเดียวชัดเจนขึ้นมา นั่นเป็นอาการของมัน ปัญญาสัมมาทิฐิเกิดขึ้นมา มันก็เป็นองค์มรรค ๘ สมบูรณ์บริบูรณ์เลย เบื้องต้นเรายังยังฟุ้งซ่านอยู่ ก็ต้องมาแก้ เราจะเข้าใจ จะสงบระงับด้วยอุบายนี้ ความฟุ้งขณะปฏิบัติเพราะเราเข้าไปยึดมั่น เรายิ่งยึดเท่าไร มันก็ยิ่งฟุ้ง ตัวนั้นท่านเรียกว่า สมุทัย ยุ่งไปหมดทุกสิ่งทุกอย่าง พอปัญญาสัมมาทิฐิเกิดขึ้น สมุทัยก็หายไป นิโรธก็เกิดขึ้น การที่เรามาเห็นว่านี่เป็นสัมมาทิฐิ คือตัวมรรคทั้ง ๘ มารวมกันอยู่ ณ ที่เดียวนี้ เมื่อจิตร่วมกันในสมาธิแน่วแน่เต็มที่แล้ว สัมมาทิฐิความเห็นชอบก็เกิดขึ้น ณ สัมมาสมาธินั่นเอง คือเห็นทุกข์เห็นสมุทัย ส่วนจะละได้มากน้อยขนาดไหน ก็แล้วแต่กำลังของปัญญาสัมมาทิฐิของตนๆ เมื่อละได้แล้ว นิโรธความดับเย็นสนิทขนาดไหน ก็จะปรากฏขึ้นเฉพาะตนในที่นั้น...”

 

เกิด พ.ศ. ๒๔๔๕

ละสังขาร ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๔

อุปสมบท พ.ศ. ๒๔๖๕

อายุ ๗๙

พรรษา ๕๘

วัด วัดป่านิโครธาราม

ท้องที่ จ.อุดรธานี

สังกัด ธรรมยุติกนิกาย

  • หนังสือ ๒๘ พระอรหันต์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระธุตังคเจดีย์ วัดอโศการาม จ.สมุทรปราการ
  • คัดลอกบางส่วนจาก อัตโนประวัติ และชีวประวัติ สกุลวงศ์ ของพระอาจารย์อ่อน ญาณสิริ ของพระจันโทปมาจารย์ นิตยสารโลกทิพย์ ฉบับที่ ๑๓ 

 

ที่มา

Generic selectors
Exact matches only
Search in title
Search in content
Post Type Selectors
post