ไตรสิกขา | พระอริยบุคคล | ละสังโยชน์ |
(1) อธิศีลสิกขา (ศีล) | พระโสดาบัน (ศีล) พระสกิทาคามี (ศีล) | ①②③ ①②③ และละกิเลส (โลภะ โทสะ โมหะ) บางส่วน |
(2) อธิจิตตสิกขา (สมาธิ) | พระอนาคามี (ศีลและสมาธิ) | ①②③④⑤ + ละกิเลส (โลภะ โทสะ โมหะ) |
(3) อธิปัญญาสิกขา (ปัญญา) (วิปัสสนา)) | พระอรหันต์ (ศีล สมาธิ ปัญญา) | ①②③④⑤⑥⑦⑧⑨⑩ + ละกิเลสหมดสิ้น |
ละสังโยชน์ที่ | ธรรมปฏิบัติ | |
สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา : ไม่สงสัยในคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า เคารพในพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ สีลัพพตปรามาส : รักษาศีลโดยเคร่งครัด (ฆราวาส ศีล 5) กามฉันทะ : ละความพอใจในกาม ด้วยกายคตานุสสติกรรมฐาน ปฏิฆะ : ละความไม่พอใจ กระทบกระทั่ง รูปราคะ : เรา (จิต) ไม่หลงไหลในรูปฌาน อรูปราคะ : เรา (จิต) ไม่หลงไหลในอรูปฌาน มานะ : เรา (จิต) ตัดความถือตัวถือตน ด้วยการเปรียบเทียบ อุทธัจจะ : เรา (จิต) จะไม่ทำให้อารมณ์ฟุ้งซ่าน มีเฉพาะอารมณ์พระนิพพาน อวิชชา : เรา (จิต) จะทำลายความโง่ ด้วยการเข้าถึงอริยสัจ 4 | : ระลึกอยู่ตลอดเวลาว่าจะต้องตาย ขันธ์ 5 (ร่างกาย) ไม่ใช่จิต (เรา) ไม่ใช่ของจิต (เรา) : ไม่สงสัยในคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า เคารพในพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ : รักษาศีลโดยเคร่งครัด (ฆราวาส ศีล 5) : ละความพอใจในกาม ด้วยกายคตานุสสติกรรมฐาน : ละความไม่พอใจ กระทบกระทั่ง : เรา (จิต) ไม่หลงไหลในรูปฌาน : เรา (จิต) ตัดความถือตัวถือตน ด้วยการเปรียบเทียบ : เรา (จิต) จะไม่ทำให้อารมณ์ฟุ้งซ่าน มีเฉพาะอารมณ์พระนิพพาน : เรา (จิต) จะทำลายความโง่ ด้วยการเข้าถึงอริยสัจ 4 | พระอริยบุคคล – พระโสดาบัน พระสกิทาคามี – พระอนาคามี – พระอรหันต์ |